ตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ
|
ตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ
(The Mechanical Properties of Timbers)
|
|
ชนิดไม้
|
ปริมาณ
ความชื้น
(%)
|
ความถ่วง
จำเพาะ
|
ความแข็งแรง
|
ความดื้อ
x100
กก./ตร.ซม.
|
ความเหนียว
|
ความแข็ง
กก.
|
ความทนทาน
จากการทดลอง
ปักดิน (ปี)
|
การตัด
|
การบีบ
(ksc)
|
การเชือด
|
จากการตัด
กก-ซม../ตร.ซม.
|
จากการเคาะ
กก. - ม.
|
1.
|
ตะเคียนทอง
|
(Hopea odorata Roxb.)
|
12
|
0.80
|
1,172
|
520
|
148
|
1,202
|
-
|
4.70
|
649
|
7.7(3.0-10.5)
|
2.
|
พนอง
|
(Shorea hypochra Hance)
|
14
|
0.59
|
940
|
489
|
138
|
1,026
|
-
|
2.90
|
443
|
4.0(2)
|
3.
|
ยาง
|
(Dipterocarpus sp.)
|
13
|
0.70
|
888
|
394
|
164
|
902
|
-
|
2.14
|
470
|
4.3(1.0-10.0)
|
4.
|
สยาขาว
|
(Shorea Leprosula Miq.)
|
12
|
0.51
|
846
|
428
|
106
|
992
|
-
|
4.02
|
336
|
2.4(0.5-3.5)
|
5.
|
สยาแดง
|
(Shorea curtisii Dyer)
|
11.8
|
0.41
|
817
|
429
|
74
|
668
|
-
|
1.71
|
222
|
1.5(0.5-3.0)
|
6.
|
ตะเคียนขน
|
(Hopea minutiflora Fisch.)
|
10.2
|
0.62
|
958
|
513
|
159
|
922
|
-
|
1.55
|
474
|
-
|
7.
|
ยางเสียน
|
(Dipterocarpus costatus)
|
12
|
0.83
|
1,440
|
661
|
177
|
1,333
|
-
|
4.03
|
772
|
-
|
8.
|
พันจำ
|
(Vatica cinerea King)
|
12
|
1.06
|
1,960
|
866
|
258
|
1,853
|
-
|
4.92
|
1270
|
-
|
9.
|
หลวง
|
(Dipterocarpus tuberculatus Roxb.)
|
12
|
0.86
|
1,297
|
552
|
152
|
1,319
|
-
|
3.34
|
734
|
7.1(2.0-14.0)
|
10.
|
รัง
|
(Pentacme suavis A.DC.)
|
12
|
1.00
|
1,352
|
621
|
126
|
1,431
|
-
|
3.42
|
755
|
17.3(11.0-18.0)
|
11.
|
เหียง
|
(Dipterocarpus obtusifolius Teijsm.)
|
12
|
0.90
|
1,200
|
580
|
131
|
1,355
|
-
|
3.00
|
716
|
8.8(2.0-18.4)
|
12.
|
แอ๊ก
|
(Shorea glauca King)
|
13
|
0.78
|
1,497
|
532
|
151
|
1,370
|
-
|
4.80
|
723
|
7.0(2)
|
13.
|
ตะเคียนทราย
|
(Shorea gratissima Dyer.)
|
12.4
|
0.76
|
1,243
|
560
|
-
|
1,243
|
-
|
3.46
|
744
|
3.2(2.7-3.9)
|
14.
|
ยูง
|
(Dipterocarpus grandiflorus BI.)
|
13
|
0.76
|
1,150
|
490
|
176
|
1,120
|
-
|
2.88
|
555
|
3.9(0.9-9.0)
|
15.
|
ชันพู่
|
(Hopea recopei Pierre)
|
47.4
|
1.23
|
1,226
|
518
|
133
|
1,260
|
-
|
5.47
|
586
|
0
|
16.
|
หงอนไก่หลังขาว
|
(Hopea helferi Brandis)
|
20.3
|
0.97
|
1,162
|
526
|
205
|
1,200
|
-
|
6.74
|
787
|
0
|
17.
|
กะบาก
|
(Anisoptera oblonga Dyer)
|
12
|
0.60
|
656
|
384
|
96
|
1,061
|
-
|
3.57
|
336
|
5.2(1.0-10.0)
|
18.
|
ไข่เขียว
|
(Parashorea stellata Kurz)
|
12
|
0.54
|
909
|
459
|
105
|
1,136
|
-
|
1.98
|
382
|
6.5(1.5-12.5)
|
19.
|
เคี่ยม
|
(Cotylelobium lanceolatum Craib)
|
12
|
0.91
|
1,489
|
707
|
196
|
1,489
|
-
|
4.01
|
992
|
มากกว่า 9 ปี
|
20.
|
เคี่ยมคะนอง
|
(Shorea sericeiflora Fisch & Hutch.)
|
12
|
0.72
|
1,438
|
602
|
158
|
1,434
|
-
|
4.02
|
683
|
15.6(14.3-18.3)
|
21.
|
ชัน
|
(Shorea thorelii Pierre)
|
12
|
0.84
|
1,341
|
630
|
149
|
1,623
|
-
|
4.37
|
687
|
11.1(4.5-21.3)
|
22.
|
ตะเคียนชันตาแมว
|
(Balanocarpus heimii King)
|
12
|
0.90
|
1,753
|
760
|
180
|
1,784
|
-
|
4.34
|
830
|
26.1(9.0-31.0)
|
23.
|
ตะเคียนราก
|
(Hopea avellanea Heim)
|
12
|
0.70
|
1,166
|
584
|
186
|
1,296
|
-
|
3.13
|
646
|
7.4(6.0-12.0)
|
24.
|
ตะเคียนหิน
|
(Hopea ferrea Pierre)
|
12
|
0.98
|
1,609
|
679
|
191
|
1,650
|
-
|
3.25
|
1142
|
10.5(10.5-10.5)
|
25.
|
เต็ง
|
(Shorea obtusa Wall.)
|
12
|
1.05
|
1,732
|
723
|
143
|
1,751
|
-
|
6.10
|
964
|
17.7(11.0-18.0)
|
26.
|
พะยอม
|
(Shorea talura Roxb.)
|
9.74
|
0.84
|
1,170
|
682
|
193
|
1,581
|
-
|
3.76
|
667
|
11.9(1.8-20.8)
|
|
|
|
|
คำอธิบาย
|
|
1. ปริมาณความชื้น (Moisture content) คิดเป็นส่วนร้อยของน้ำหนักไม้อบแห้ง ที่มีความชื้นต่ำกว่า 16% ถือว่าเป็นไม้แห้ง เกินกว่า 25% เป็นไม้เปียก
|
|
2. ความแข็งแรง
|
|
แรงดัด (Static bending) หมายถึงค่าสัมประสิทธิ์การหัก (Modulus of rupture)
แรงบีบขนานแนวเสี้ยน (Compression parallel to grain) หมายถึงค่าแรงบีบ
แรงเชือด (Shear along grain) หมายถึง ค่าแรงเฉลี่ยสูงสุดตามแนวรัศมี (Radial) และแนวสัมผัส (Tangeential)
|
|
3. ความดื้อ (Stiffness) หมายถึง ค่าสัมประสิทธิ์การยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) ที่ได้จากการดัด (Static bending)
|
|
4. ความเหนียว (Toughness)
|
|
การดัด (Static bending) หมายถึง ค่างานทั้งหมด (Total word) ที่ใช้ทำให้ไม้เสียรูปจนถึงน้ำหนักที่กำหนด
แรงเดาะ (Impact bending) หมายถึง ค่าพลังงานที่ต้องใช้ในการทำให้ไม้หัก
|
|
5. ความแข็ง (Hardness) หมายถึง ค่าน้ำหนักหรือแรงที่ต้องใช้ในการกดลูกปืนให้จมลงไปในไม้ในระดับที่กำหนด ค่าที่ให้ไว้เป็นค่าเฉลี่ยของความแข็งบนด้านรัศมี (Radial) และด้านสัมผัส (Tangential)
|
|
6. ความทนทาน (Durability) หมายถึง ความทนทานตามธรรมชาติของไม้ต่อมอด ปลวก และต่อการผุ ข้อมูลได้จากการทดลองปักไม้ ขนาด 5x5x50 ซม. ลงในดิน ซึ่งเลือกแปลงทดลองในภาคต่างๆ ของประเทศไทย
|
|
ในการเปรียบเทียบความแข็งแรงระหว่างไม้ต่างชนิดโดยทั่วๆ ไปถือค่าความแข็งแรงในการดัด (Modulus of rupture) เป็นบรรทัดฐาน ซึ่งเป็นค่าที่สำคัญที่ใช้พิจารณาในการก่อสร้าง ทั้งนี้เพราะไม้ได้รับอิทธิพลจากเหตุที่เกี่ยวข้องต่างๆ ได้มากกว่าค่าอื่นๆ
|
|
อนึ่ง ไม้แห้ง (ความชื่น 12%) จะมีค่าความแข็งแรงในการดัดประมาณ 1.5 เท่าของไม้เปียก (ความชื้นเกิน 25%)
|
|