ReadyPlanet.com
dot dot
dot
เพิ่มเราเป็นเพื่อนในไลน์ เพื่อติดต่อ-สอบถาม
dot
dot
ไม้อัด/MDF/Particle Board
dot
bulletเช็คราคาไม้อัด
bulletเลือกซื้อไม้อัดเกรดไหนดี?
bulletไม้อัด/MDF/Particle Board
dot
ไม้แปรรูป Timber
dot
bulletไม้แปรรูปที่เรามีจำหน่าย
bulletTimberX CCA Treated Wood
bulletRubberwood AB
bulletRubberwood C
bulletไม้แปรรูปอื่นๆ Other Species
dot
พาเลท IPPC
dot
bulletพาเลท ชนิด Four Way
bulletพาเลท ชนิด two way
dot
พาเลทStandard Pallet
dot
bulletพาเลท IPPC Pallet
bulletเกี่ยวกับ EURO Pallet
bulletพาเลทสำหรับCONTAINER
dot
นานาสาระArticle
dot
bulletการเลือกใช้ไม้ชนิดต่างๆให้เหมาะกับประโยชน์การงาน
bulletลิงค์เกี่ยวกับไม้ Hot Links
bulletผลิตภัณฑ์กลุ่มวัสดุแผ่น
bulletการตกแต่งผนังโดยไม้อัดสัก Italy
bulletSoftwood & Hardwood
bulletตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ
bulletตารางการหดตัวของไม้ชนิดต่างๆ Wood Shrinkage Table
bulletPlain Sawn or Quarter Sawn ?
bulletการติดตั้งพื้นไม้ Decking
bulletข้อกำหนดไม้เนื้ออ่อนไม้เนื้อแข็ง
bulletวิธีการเลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้
bulletผลิตภัณฑ์ไม้กับความชื้น
bulletวิธีการเลือกซื้อพื้นไม้
bulletทางเลือกในการซื้อพื้นไม้
bulletการป้องกันและรักษาเนื้อไม้
bulletความรู้เกี่ยวกับไม้สัก
bulletFSC และการรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
bulletWood to the rescue
bulletAbout Rubberwood
bulletRubberwood 1,2
bulletRubberwood 3
bulletRubberwood 4 - Utilization
bulletRubberwood 5, 6
bulletข้อมูลเศรษฐกิจไม้ยางพารา
bulletอุตสาหกรรมไม้ยางพารา
bulletไม้ยางพาราในประเทศไทย
bulletคุณรู้จัก IPPC หรือยัง?
bulletกฎใหม่ลังไม้ไปนอก
bulletIPPC- ISPM 15 by country April 2006
bulletผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ ISPM15
bulletประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย
bulletThailand’s forests and the forestry sector
bulletสถิติการป่าไม้ของประเทศไทย 2545-2549
bulletอุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา
bulletการใช้ประโยชน์จากไม้ยางพาราในปัจจุบัน
bulletมารู้จักศัพท์ทางด้านการบรรจุภัณฑ์ดีกว่า
bulletHeat treated หรือ Methyl Bromideเลือกแบบไหนดี?
bulletการใช้ไม้เพื่อการหีบห่อ
bulletลังไม้และกล่องไม้
bulletEPAL Pallet System
bulletPallets in a container, on a truck or wagon
bulletLike Box




การป้องกันและรักษาเนื้อไม้ article

 

คุณสมบัติของไม้

 

 

ความทนทาน จำแนกความเสียหายได้ 4อย่างต่อไปนี้

 

 

1.ทางชีวภาพ ได้แก่ความเสียหายที่เกิดจากเชื้อรา แมลงและเพรียง

 

 

2.ทางฟิสิกส์ ได้แก่ความเสียหายที่เกิดจากถูกความร้อน ความชื้น การยืด หดตัว แตก ร้าว ปริ และโดยการกระทำของสภาพอากาศ

 

 

3.ทางกล ได้แก่การเสียดสี เหยียบย่ำ การแตกหักเพราะมีน้ำหนักกระทำ

 

 

4.ทางเคมี ได้แก่การถูกกรด ด่าง การเติมออกซิเจน และถูกไฟไหม้

 

 

การเสียหายจากสาเหตุแรกนั้นเป็นความเสียหายที่สามารถป้องกันได้โดยใช้ตัวยารักษาเนื้อไม้ ซึ่งมีความเป็นพิษต่อตัวการทั้งสามที่ทำให้เนื้อไม้ผุพัง ทำให้สามารถยืดอายุการใช้งานต่อไปได้อีก ไม้ที่ทนทานต่อการทำลายโดยไม่ต้องอาศัยน้ำยารักษาเนื้อไม้ เรียกว่าเป็นไม้ที่มีความทนทานตามธรรมชาติ ตัวยารักษาเนื้อไม้ คือสารเคมีที่เป็นพิษต่อตัวการทำลายไม้ ซึ่งได้แก่ เชื้อรา แมลง และเพรียง ดังกล่าวแล้วข้างต้น โดยปกติแล้วยารักษาเนื้อไม้จะต้องเป็นของเหลวเพื่อให้ซึมผ่านเนื้อไม้ได้สะดวก จะเป็นในรูปสารเคมีผสมสารละลาย หรือเป็นน้ำมันผสม หรือเป็นสารเคมีที่สะลายน้ำก็ได้แบ่งออกเป็น 3 ประเภทคือ

 

1.ครีโอโสต หรือสารผสมที่ได้จากน้ำมันดินถ่านหิน มีประสิทธิภาพสูง ไม่ละลายน้ำ ติดกับไม้ได้นานมาก ช่วยให้ไม้ไม่แตกร้าว ไม่กัดโลหะ ใช้กับงานที่ต้องการความคงทนมากๆเช่น ไม้หมอนรถไฟ ไม้เสาไฟฟ้า ปกติใช้วิธีการอัดแบบไม่เต็มเซลล์ มีข้อเสียคือมีกลิ่นรุนแรง ทาสีทับไม่ได้ มีสีดำ

 

 

2.สารเคมีผสมสารละลายประเภทน้ำมัน เช่น Tanalith T (เป็นสารเคมีประเภทละลายในน้ำมันซึ่งมีสารออกฤทธิ์เป็น Permethrin สามารถใช้วิธีการจุ่ม พ่นหรือทาได้)

 

 

3.สารเคมีผสมน้ำ ที่ใช้กันอยู่ในบ้านเราเช่น สารพวก Boron Compound (น้ำยาอัดขาว) , CCA:Copper Crome Asenic (น้ำยาอัดเขียว) ปกติแล้วการใช้สารพวก Boron Compound ใช้กันมากกับการรักษาเนื้อไม้พวกไม้ยางพารา ไม้เนื้ออ่อน ที่ใช้ทำเฟอร์นิเจอร์ ประเภทใช้งานภายใน โดยอัดให้มีปริมาณน้ำยาตกค้าง ที่ 0.2 % BAE ส่วน CCA ใช้กับไม้ที่ต้องการทนแดดทนฝนเป็นพิเศษ เพราะมีการยึดติดกับเนื้อไม้ได้ดี โดยปกติจะใช้วิธีการอัดแบบเต็มเซลล์

 

คุณสมบัติของยารักษาเนื้อไม้

 

1.ปลอดภัย หรือเป็นอันตราบต่อผู้ใช้น้อยทีสุด

 

2.มีประสิทธิภาพ ต้องเป็นพิษกับตัวการทำลายไม้

 

3.คงทน อยู่ในเนื้อไม้ได้นาน

 

4.ค่าใช้จ่ายไม่สูง คุ้มกับความต้องการรักษาเนื้อไม้

 

กรรมวิธีอาบน้ำยาไม้ 1.วิธีใช้แรงอัด คือการอัดโดยใช้ถังอัด แบ่งออกเป็น

 

-กรรมวิธีอัดเต็มเซลล์ คือมีการทำสูญกาศ(-0.84 bar)ร่วมกับการอัดแรงดัน(150-200 psi)

 

-กรรมวิธ๊อัดเซลล์ว่าง คือทำการอัดแรงดันอย่างเดียว(ใช้ลมอัด 60 psi และอัดน้ำยาที่ 150-200 psi)

 

-กรรมวิธีใช้แรงดันสลับ คือทำการใช้แรงอัดสลับกับสูญกาศหลายๆครั้ง

 

-กรรมวิธีใช้สูญกาศซ้อน คล้ายกับวิธีอัดเต็มเซลล์ แต่ใช้แรงดันต่ำกว่า

 

2.ไม่ใช้แรงอัด ได้แก่วิธี ทา พ่น จุ่ม แช่

 




นานาสาระ

การเลือกใช้ไม้ชนิดต่างๆให้เหมาะกับประโยชน์การงาน article
ผลิตภัณฑ์กลุ่มวัสดุแผ่น
การตกแต่งผนังโดยไม้อัดสัก Italy article
ผลิตภัณฑ์ไม้กับความชื้น
วิธีการเลือกซื้อเฟอร์นิเจอร์ไม้
ข้อกำหนดไม้เนื้ออ่อนไม้เนื้อแข็ง
ทางเลือกในการซื้อพื้นไม้ article
ความรู้เกี่ยวกับไม้สัก
FSC และการรับรองทางป่าไม้ (Forest Certification)
ตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ
ตารางการหดตัวของไม้ชนิดต่างๆ Wood Shrinkage Table
Softwood & Hardwood
Plain Sawn or Quarter Sawn ?
การติดตั้งพื้นไม้ Decking
ประเภทของป่าไม้ในประเทศไทย
Thailand’s forests and the forestry sector
ข้อมูลเศรษฐกิจไม้ยางพารา article
สถิติการป่าไม้ของประเทศไทย 2545 ->2549 article
อุตสาหกรรมไม้ยางพารา article
ไม้ยางพาราในประเทศไทย article
อุตสาหกรรมแปรรูปไม้ยางพารา
การใช้ประโยชน์จากไม้ยางพาราในปัจจุบัน
Rubberwood 1,2 - Introduction & Resourse Proporties article
Rubberwood 3- Resources Availability article
Rubberwood 4 - Utilization article
Rubberwood 5, 6- Availability and Conclusion article
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับEURO PALLET
ส่งออกสินค้าไปยุโรป อ่านที่นี่
มารู้จักศัพท์ทางด้านการบรรจุภัณฑ์ดีกว่า article
คุณรู้จัก IPPC แล้วหรือยังว่าคืออะไร article
กฎใหม่ลังไม้ไปนอก article
IPPC- ISPM 15 Implementation Dates by country April 2006 article
Heat treated หรือ Methyl Bromideเลือกแบบไหนดี?
รายชื่อผู้ผลิตบรรจุภัณฑ์ไม้ที่ได้รับการขึ้นทะเบียน ISPM15 article
การใช้ไม้เพื่อการหีบห่อ
ลังไม้และกล่องไม้
EPAL Pallet System
Pallets in a container, on a truck or wagon article
พาเลทหมุนเวียน ลดต้นทุนโลจิสติกส์ article



Copyright © 2010 All Rights Reserved.
Loading