ตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ

 


ตารางแสดงค่ากลสมบัติของไม้ชนิดต่างๆ 
(The Mechanical Properties of Timbers)

   

ชนิดไม้

ปริมาณ
ความชื้น
(%)

ความถ่วง
จำเพาะ

ความแข็งแรง

ความดื้อ
x100

กก./ตร.ซม.

ความเหนียว

ความแข็ง
กก.

ความทนทาน
จากการทดลอง
ปักดิน (ปี)

การตัด

การบีบ
   (ksc)

การเชือด

จากการตัด
กก-ซม../ตร.ซม.

จากการเคาะ
กก. - ม.

1.

ตะเคียนทอง

(Hopea odorata Roxb.)

12

0.80

1,172

520

148

1,202

-

4.70

649

7.7(3.0-10.5)

2.

พนอง

(Shorea hypochra Hance)

14

0.59

940

489

138

1,026

-

2.90

443

4.0(2)

3.

ยาง

(Dipterocarpus sp.)

13

0.70

888

394

164

902

-

2.14

470

4.3(1.0-10.0)

4.

สยาขาว

(Shorea Leprosula Miq.)

12

0.51

846

428

106

992

-

4.02

336

2.4(0.5-3.5)

5.

สยาแดง

(Shorea curtisii Dyer)

11.8

0.41

817

429

74

668

-

1.71

222

1.5(0.5-3.0)

6.

ตะเคียนขน

(Hopea minutiflora Fisch.)

10.2

0.62

958

513

159

922

-

1.55

474

-

7.

ยางเสียน

(Dipterocarpus costatus)

12

0.83

1,440

661

177

1,333

-

4.03

772

-

8.

พันจำ

(Vatica cinerea King)

12

1.06

1,960

866

258

1,853

-

4.92

1270

-

9.

หลวง

(Dipterocarpus tuberculatus Roxb.)

12

0.86

1,297

552

152

1,319

-

3.34

734

7.1(2.0-14.0)

10.

รัง

(Pentacme suavis A.DC.)

12

1.00

1,352

621

126

1,431

-

3.42

755

17.3(11.0-18.0)

11.

เหียง

(Dipterocarpus obtusifolius Teijsm.)

12

0.90

1,200

580

131

1,355

-

3.00

716

8.8(2.0-18.4)

12.

แอ๊ก

(Shorea glauca King)

13

0.78

1,497

532

151

1,370

-

4.80

723

7.0(2)

13.

ตะเคียนทราย

(Shorea gratissima Dyer.)

12.4

0.76

1,243

560

-

1,243

-

3.46

744

3.2(2.7-3.9)

14.

ยูง

(Dipterocarpus grandiflorus BI.)

13

0.76

1,150

490

176

1,120

-

2.88

555

3.9(0.9-9.0)

15.

ชันพู่

(Hopea recopei Pierre)

47.4

1.23

1,226

518

133

1,260

-

5.47

586

0

16.

หงอนไก่หลังขาว

(Hopea helferi Brandis)

20.3

0.97

1,162

526

205

1,200

-

6.74

787

0

17.

กะบาก

(Anisoptera oblonga Dyer)

12

0.60

656

384

96

1,061

-

3.57

336

5.2(1.0-10.0)

18.

ไข่เขียว

(Parashorea stellata Kurz)

12

0.54

909

459

105

1,136

-

1.98

382

6.5(1.5-12.5)

19.

เคี่ยม

(Cotylelobium lanceolatum Craib)

12

0.91

1,489

707

196

1,489

-

4.01

992

มากกว่า 9 ปี

20.

เคี่ยมคะนอง

(Shorea sericeiflora Fisch & Hutch.)

12

0.72

1,438

602

158

1,434

-

4.02

683

15.6(14.3-18.3)

21.

ชัน

(Shorea thorelii Pierre)

12

0.84

1,341

630

149

1,623

-

4.37

687

11.1(4.5-21.3)

22.

ตะเคียนชันตาแมว

(Balanocarpus heimii King)

12

0.90

1,753

760

180

1,784

-

4.34

830

26.1(9.0-31.0)

23.

ตะเคียนราก

(Hopea avellanea Heim)

12

0.70

1,166

584

186

1,296

-

3.13

646

7.4(6.0-12.0)

24.

ตะเคียนหิน

(Hopea ferrea Pierre)

12

0.98

1,609

679

191

1,650

-

3.25

1142

10.5(10.5-10.5)

25.

เต็ง

(Shorea obtusa Wall.)

12

1.05

1,732

723

143

1,751

-

6.10

964

17.7(11.0-18.0)

26.

พะยอม

(Shorea talura Roxb.)

9.74

0.84

1,170

682

193

1,581

-

3.76

667

11.9(1.8-20.8)

 

   

 

คำอธิบาย
   

 

1. ปริมาณความชื้น (Moisture content) คิดเป็นส่วนร้อยของน้ำหนักไม้อบแห้ง ที่มีความชื้นต่ำกว่า 16% ถือว่าเป็นไม้แห้ง เกินกว่า 25% เป็นไม้เปียก

 

2. ความแข็งแรง

      

    แรงดัด (Static bending) หมายถึงค่าสัมประสิทธิ์การหัก (Modulus of rupture)

   แรงบีบขนานแนวเสี้ยน (Compression parallel to grain) หมายถึงค่าแรงบีบ

       แรงเชือด (Shear along grain) หมายถึง ค่าแรงเฉลี่ยสูงสุดตามแนวรัศมี (Radial) และแนวสัมผัส (Tangeential)

 

3. ความดื้อ (Stiffness) หมายถึง ค่าสัมประสิทธิ์การยืดหยุ่น (Modulus of elasticity) ที่ได้จากการดัด (Static bending)

 

4. ความเหนียว (Toughness)

         

   การดัด (Static bending) หมายถึง ค่างานทั้งหมด (Total word) ที่ใช้ทำให้ไม้เสียรูปจนถึงน้ำหนักที่กำหนด

     แรงเดาะ (Impact bending) หมายถึง ค่าพลังงานที่ต้องใช้ในการทำให้ไม้หัก

 

5. ความแข็ง (Hardness) หมายถึง ค่าน้ำหนักหรือแรงที่ต้องใช้ในการกดลูกปืนให้จมลงไปในไม้ในระดับที่กำหนด ค่าที่ให้ไว้เป็นค่าเฉลี่ยของความแข็งบนด้านรัศมี (Radial) และด้านสัมผัส (Tangential)

 

6. ความทนทาน (Durability) หมายถึง ความทนทานตามธรรมชาติของไม้ต่อมอด ปลวก และต่อการผุ ข้อมูลได้จากการทดลองปักไม้ ขนาด 5x5x50 ซม. ลงในดิน ซึ่งเลือกแปลงทดลองในภาคต่างๆ ของประเทศไทย

 

          ในการเปรียบเทียบความแข็งแรงระหว่างไม้ต่างชนิดโดยทั่วๆ ไปถือค่าความแข็งแรงในการดัด (Modulus of rupture) เป็นบรรทัดฐาน ซึ่งเป็นค่าที่สำคัญที่ใช้พิจารณาในการก่อสร้าง ทั้งนี้เพราะไม้ได้รับอิทธิพลจากเหตุที่เกี่ยวข้องต่างๆ ได้มากกว่าค่าอื่นๆ

 

          อนึ่ง ไม้แห้ง (ความชื่น 12%) จะมีค่าความแข็งแรงในการดัดประมาณ 1.5 เท่าของไม้เปียก (ความชื้นเกิน 25%)